การบ้าน2 : พฤติกรรมที่คนทั่วไปยังไม่ให้ความสำคัญในข้อกฏหมายและยังคงมีให้พบเห็นบ่อยครั้งโดยไม่คำนึงถึงความผิด
ถึงแม้ว่าจะมีความผิดด้วยพรบ กระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
มาตราที่ 16
ผู้ใดนำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ที่ประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ปรากฏเป็นภาพของผู้อื่น
และภาพนั้นเป็นภาพที่เกิดจากการสร้างขึ้น ตัดต่อ เติม หรือ หรือดัดแปลงด้วยวิธีการทางอิเล็คทรอนิกส์หรือวิธีการอื่นใด
ทั้งนี้ โดยประการที่น่าจะทำให้ผู้อื่นนั้นเสียชื่อเสียง
ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี
หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ถ้ากระทำตามวรรคหนึ่ง เป็นการนำเข้าข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยสุจริต
ผู้กระทำไม่มีความผิด
ความผิดตามวรรคหนึ่ง เป็นอันยอมความได้
ถ้าผู้เสียหายในความผิดตามวรรคหนึ่งตายเสียก่อนร้องทุกข์
ให้บิดา มารดา คู่สมรส หรือบุตรของผู้เสียหายร้องทุกข์ได้ และให้ถือว่าเป็นผู้เสียหาย
โดยอ้างอิงข้อมูลจาก พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พ.ศ. 2550
ความคิดเห็นของข้าพเจ้า
ตัวอย่างเช่น
“ปอย ตรีชฎา” ช็อกโดนตัดต่อภาพทำใบปลิวขายตัวที่มาเก๊า
http://www.manager.co.th/Entertainment/ViewNews.aspx?NewsID=9550000125182
ความคิดเห็นของข้าพเจ้า
นี่เป็นบทความหนึ่งที่สะท้อนให้เห็นถึงความละเมิดสิทธิความเป็นมนุษย์ของคนๆหนึ่งที่พึงมีเลยก็ว่าได้ ซึ่งเป็นการกระทำที่เกิดขึ้นต่างประเทศอีกด้วย จึงทำให้เห็นว่า เทคโนโลยีมันไร้พรมแดนในแง่ลบได้เช่นกัน
พยาบาลแจ้งจับหมอตัดต่อรูปขึ้นปกซีดีลามก
http://thainet8.blogspot.com/2011/05/blog-post_7886.html
ความคิดเห็นของข้าพเจ้า
จากเนื้อข่าว ข้าพเจ้าคิดว่า ถึงแม้จะไม่ใช่บุคคลที่มีชื่อเสียงก็ตาม บุคคลธรรมดาก็โดนละเมิดสิทธิได้เช่นกัน เพราะความที่เทคโนโลยีมันทำได้ค่อนข้างง่ายและสะดวก ถึงแม้ว่าจะกระทำโดยประมาท นั่นคือ ลงภาพในเฟสบุคของตนเอง แต่ก็ทำให้ผู้เสียหายเสื่อมเสียและเกิดความอับอายได้
ชาวไซเบอร์เชียงราย ประณามคนตัดต่อรูปพ่อขุนเม็งราย พร้อมเปลี่ยนพระนามในหน้าเฟซบุ๊ก ร้องหน่วยงานรัฐตรวจสอบ
http://news.sanook.com/1137052/%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B9%84%E0%B8%8B%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%93%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B8%9B%E0%B8%9E%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%82%E0%B8%B8%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B9%87%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A21/
ความคิดเห็นของข้าพเจ้า
บทความนี้ก็เป็นอีกหนึ่งตัวอย่างที่ข้าพเจ้าคิดว่าเป็นเรื่องที่ต้องให้ความสำคัญ
เนื่องจากความเสียหายไม่ใช่บุคคลเดียว แต่เป็นการกระทำที่ไม่สุภาพไม่เหมาะสมและกระทบกระเทือนจิตใจอย่างยิ่งสำหรับคนหมู่มาก
ถึงแม้จะทำด้วยความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ก็ตาม เป็นสิ่งที่ไม่ควรคิดกระทำ
จากบทความข้างต้นทั้งหมด ข้าพเจ้ามีความคิดว่า
การกระทำต่างๆเหล่านี้ที่ตัดต่อรูปภาพ
ทำให้เกิดความอับอายและเสียหาย ยังคงมีให้เห็นอยู่เสมอ
ถึงแม้จะมีตัวบทกฎหมายควบคุมก็ตาม
แต่ก็ไม่สามารถระงับการกระทำเหล่านี้ได้
เพราะการกระทำสามารถทำได้ง่ายๆ เผยแพร่รวดเร็ว
จึงทำให้ไม่รู้ที่มาที่ไปของภาพที่เสียหาย
การจับกุมจึงต้องดำเนินค่อนข้างช้า ทำให้ผู้เสียหายจึงไม่เอาเรื่อง
ไม่แจ้งความ และบางกลุ่มเห็นเป็นเรื่องธรรมดาทั่วไป แต่อย่างไรก็ตามเราควรเคารพสิทธิเสรีภาพของผู้อื่น
ด้วย ทุกคนมีสิทธิเท่าเทียมกัน อย่าเอาเทคโนโลยีมาใช้ในทางที่ผิด นอกจากตนเองจะเดือดร้อนแล้ว
ผู้เสียหายก็ต้องได้รับความอับอายเช่นกัน ต้องนึกถึงใจเขาใขเราบ้าง หลายๆกรณีจะเห็นได้ชัดว่า
เป็นการเผยแพร่โดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ เพียงแค่เป็นการลงในโลกSocial networkของตัวเอง และคิด
เพียงความสุนกและทำไปโดยความคึกคะนองเท่านั้น แต่เทคโนโลยีก็สามารถทำลายผู้กระทำได้เช่นกัน และที่สำคัญ การถูกดูหมิ่นเกลียดชังของคนในสังคมที่มีต่อผู้เสียหายไม่สามารถเรียกกลับคืนมาได้
อย่าเห็นว่าเป็นเรื่องปกติ หยุดเห็นดีเห็นงาม อย่าคล้อยตาม หยุดเผยแพร่เถิดค่ะ
อย่ามีความสุขบนความทุกข์ของผู้อื่นเลย
มันไม่ใช่ความสุขที่แท้จริง
เครดิตข่าว : www.sanook.com
/ thainet8.blogspot.com / www.manager.co.th
มาตรา ๕ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการนั้น มิได้มีไว้สำหรับตน ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๖ ผู้ใดล่วงรู้มาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทำขึ้นเป็นการเฉพาะถ้านำมาตรการดังกล่าวไปเปิดเผยโดยมิชอบ ในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๗ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิได้มีไว้สำหรับตน ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
จากมาตราต่างๆนี้ ก็เป็นกฏหมายเอาผิดกับพวกที่กระทำก่อการไม่ดีโดยการแฮกข้อมูลของธนาคาร ซึ่งเป็นข่าวครึกโครมอยู่ไม่น้อย เช่น
จับแก๊งแฮกข้อมูลธนาคารกรุงไทย
http://www.thaibizcenter.com/hotnewsdetail.asp?newsid=3841
รวบมือแฮกข้อมูลแบงค์ไทยพาณิชย์สูญกว่า5แสน
http://www.komchadluek.net/detail/20110723/103729/%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%9A%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B9%81%E0%B8%AE%E0%B8%81%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B9%8C%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%9E%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%B4%E0%B8%8A%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%8D%E0%B8%81%E0%B8%A7%E0%B9%88%E0%B8%B25%E0%B9%81%E0%B8%AA%E0%B8%99.html#.UJkgRMUxqAU
ซึ่งพฤติกรรมดังกล่าวเป็นการแอบนำเอาข้อมูลขององค์กรโดยไม่ได้รับอนุญาต ถึงแม้ว่าจะมีระบบการป้องกันที่แน่นหนาและระบบคุ้มกันดีเยี่ยม เพราะข้อมูลธนาคารเป็นสิ่งที่สำคัญอย่างมากต่อส่วนรวมเพราะเป็นข้อมูลที่เปิดเผยไม่ได้ ไม่ว่าจะเป็นขององค์กรเองหรือข้อมูลของผู้ใช้บริการ ซึ่งข้าพเจ้าคิดว่า เหตุการณืเหล่านี้ที่มักเกิดขึ้นเนื่องจากผู้กระทำมีความต้องการอยากลองวิชา ว่าตนเองจะสามารถแฮกข้อมูลที่มีความปลอดภัยสูงได้หรือไม่ และกลายเป็นการแฮกข้อมูลเพราะทำการลักลอบทุจริตต่อไปในที่สุด ซึ่งภาครัฐควรจะให้ความสำคัญกับเทคโนโลยีมากยิ่งขึ้น ไม่ควรปล่อยประละเลยและหมั่นดูแลรักษาระบบความปลอดภัยอย่างรัดกุม เพราะสิ่งที่ผู้กระทำได้แฮกข้อมูลนั้นถือว่าไม่ใช่เรื่องง่ายและมีความสามารถไม่น้อยในการเข้าถึงข้อมูลขององค์กรขนาดใหญ่
นอกจากนี้....
มาตรา ๕ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการนั้น มิได้มีไว้สำหรับตน ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๖ ผู้ใดล่วงรู้มาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทำขึ้นเป็นการเฉพาะถ้านำมาตรการดังกล่าวไปเปิดเผยโดยมิชอบ ในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๗ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิได้มีไว้สำหรับตน ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
จากมาตราต่างๆนี้ ก็เป็นกฏหมายเอาผิดกับพวกที่กระทำก่อการไม่ดีโดยการแฮกข้อมูลของธนาคาร ซึ่งเป็นข่าวครึกโครมอยู่ไม่น้อย เช่น
จับแก๊งแฮกข้อมูลธนาคารกรุงไทย
http://www.thaibizcenter.com/hotnewsdetail.asp?newsid=3841
รวบมือแฮกข้อมูลแบงค์ไทยพาณิชย์สูญกว่า5แสน
http://www.komchadluek.net/detail/20110723/103729/%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%9A%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B9%81%E0%B8%AE%E0%B8%81%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B9%8C%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%9E%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%B4%E0%B8%8A%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%8D%E0%B8%81%E0%B8%A7%E0%B9%88%E0%B8%B25%E0%B9%81%E0%B8%AA%E0%B8%99.html#.UJkgRMUxqAU
ซึ่งพฤติกรรมดังกล่าวเป็นการแอบนำเอาข้อมูลขององค์กรโดยไม่ได้รับอนุญาต ถึงแม้ว่าจะมีระบบการป้องกันที่แน่นหนาและระบบคุ้มกันดีเยี่ยม เพราะข้อมูลธนาคารเป็นสิ่งที่สำคัญอย่างมากต่อส่วนรวมเพราะเป็นข้อมูลที่เปิดเผยไม่ได้ ไม่ว่าจะเป็นขององค์กรเองหรือข้อมูลของผู้ใช้บริการ ซึ่งข้าพเจ้าคิดว่า เหตุการณืเหล่านี้ที่มักเกิดขึ้นเนื่องจากผู้กระทำมีความต้องการอยากลองวิชา ว่าตนเองจะสามารถแฮกข้อมูลที่มีความปลอดภัยสูงได้หรือไม่ และกลายเป็นการแฮกข้อมูลเพราะทำการลักลอบทุจริตต่อไปในที่สุด ซึ่งภาครัฐควรจะให้ความสำคัญกับเทคโนโลยีมากยิ่งขึ้น ไม่ควรปล่อยประละเลยและหมั่นดูแลรักษาระบบความปลอดภัยอย่างรัดกุม เพราะสิ่งที่ผู้กระทำได้แฮกข้อมูลนั้นถือว่าไม่ใช่เรื่องง่ายและมีความสามารถไม่น้อยในการเข้าถึงข้อมูลขององค์กรขนาดใหญ่
ที่มาจาก www.komchadluek.net / www.thaibizcenter.com
เห็นด้วยกับ จขบ นะครับว่าเราควรคำนึงถึงการกระทำผิดทางพรบ.คอมฯ เราต้องตระหนักถึงความสำคัญเรื่องนี้มากๆเพราะเป็นเรื่องใหม่ จะรออ่านบทความดีๆและมีสาระเรื่อยๆนะครับ
ตอบลบขอบคุณค่ะคุณเจ้ :)) ยินดีที่คิดเหมือนกัน
ลบเก๋จุงเบยค่า มีสาระมั๊กก 5555
ตอบลบขอบใจจ้าน้องตวง :)
ลบpg wisdom รวยจริง การันตี การนำเสนอเกมที่น่าตื่นเต้นและมีความหลากหลาย pg สร้างประสบการณ์การเล่นที่น่าประทับใจอย่างแท้จริง ซึ่งมีทั้งความสนุกสนานและโอกาสในการชนะรางวัลที่มากมาย
ตอบลบ